GISTDA ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณน้ำในภาคอีสานผ่านภาพถ่ายดาวเทียม โดยพบพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก 8 จังหวัด ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลุ่มต่ำ พื้นที่เกษตร และชุมชนในบางส่วน ประกอบด้วย
.
จ.กาฬสินธุ์
สายทาง กส.4034 แยก ทล.2253 – บ้านคำไฮ ปีที่เกิดอุทกภัย 2557, 2560, 2561 และ 2562
สายทาง กส.4001 แยก ทล.2291 – บ้านโคกกลาง ปีที่เกิดอุทกภัย 2560, 2562, 2558 และ 2559
สายทาง กส.4022 แยก ทล.2291 – บ้านชาด ปีที่เกิดอุทกภัย 2560, 2561 และ 2562
.
จ.ขอนแก่น
สายทาง ขก.4030 แยก ทล.2039 – บ้านโนนสง่า ปีที่เกิดอุทกภัย 2559, 2560, 2561 และ 2564
.
จ.นครพนม
สายทาง นพ.4061 แยก ทล.2417 – บ้านข่า ปีที่เกิดอุทกภัย 2557, 2559, 2560 และ 2561
สายทาง นพ.4058 แยก ทล.2346 – บ้านดอนมะจ่าง ปีที่เกิดอุทกภัย 2557, 2558, 2559, 2560 และ 2561
สายทาง นพ.4036 แยก ทล. 2028 – บ้านดอนถ่อน ปีที่เกิดอุทกภัย 2560, 2561, 2562, 2563 และ 2564
.
จ.มหาสารคาม
สายทาง มค.4019 แยก ทล.2322 – บ้านคูชัย ปีที่เกิดอุทกภัย 2560, 2561 และ 2562
.
จ.ยโสธร
สายทาง ยส.4014 แยก ทล.2083 – บ้านดงมะหรี่ ปีที่เกิดอุทกภัย 2560, 2561, 2562 และ 2564
.
จ.ร้อยเอ็ด
สายทาง รอ.4026 แยก ทล.2044 – บ้านบัวคำ ปีที่เกิดอุทกภัย 2560, 2561, 2562 และ 2564
สายทาง รอ.4035 แยก ทล.2044 – บ้านโคกสี ปีที่เกิดอุทกภัย 2560, 2561, 2562 และ 2564
.
จ.เลย
สายทาง ลย.3011 แยก ทล.201 – บ้านสงเปือย ปีที่เกิดอุทกภัย 2559, 2560, 2561, 2563 และ 2564
สายทาง ลย.4017 แยก ทล.2186 – บ้านเชียงกลม ปีที่เกิดอุทกภัย 2560, 2561, 2562, 2563 และ 2564
สายทาง ลย.4020 แยก ทล.2108 – บ้านห้วยผักกูด ปีที่เกิดอุทกภัย 2560, 2561 และ 2562
.
จ.สกลนคร
สายทาง สน.4064 แยก ทล.2307 – บ้านสามแยกพัฒนา ปีที่เกิดอุทกภัย 2558, 2559 และ 2560
สายทาง สน.2013 แยก ทล.22 – บ้านดงน้อย ปีที่เกิดอุทกภัย 2560, 2561, 2562 และ 2564
สายทาง สน.3005 แยก ทล.222 – บ้านนาฮี ปีที่เกิดอุทกภัย 2558, 2559, 2560, 2561, 2562 และ 2564
สายทาง สน.3023 แยก ทล.222 – บ้านดอนปอ ปีที่เกิดอุทกภัย 2559, 2560, 2561 และ 2564
สายทาง สน.3043 แยก ทล.222 – บ้านกุดจอก ปีที่เกิดอุทกภัย 2558, 2559, 2560, 2561 และ 2562
สายทาง สน.4039 แยก ทล.2342 – บ้านคำเลาะ ปีที่เกิดอุทกภัย 2559, 2560 และ 2561
.
.
ที่มา: GISTDA
.